วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2563

3.5 การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

  การแสดงผลงาน  จัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิต อ่านเพิ่มเติม



3.4 การดำเนินงาน

 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ  2. ศึกษาค้นคว้าและวางแผน 3.จัดทำเค้าโครงของโครงงานที่จะทำ  4. การลงมือทำโครงงาน  5. เขียนรายงานและจัดทำคู่มือการใช้  6. การนำเสนอและแสดงโครงงาน   อ่านเพิ่มเติม



3.3 การวางแผนและออกแบบโครงงาน

 1.ศึกษาเอกสาร และความเป็นไปได้ของโครงงาน 2.กำหนดผลสำเร็จของโครงงาน 3.แบ่งการดำเนอนการออกเป็นกิจกรรมย่อย 4.กำหนดขั้นตอนก่อน-หลังของแต่ละกิจกรรม อ่านเพิ่มเติม 




3.2 การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา

 การวิจัยทุกเรื่อง จะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น อ่านเพิ่มเติม



3.1 การกำหนดปัญหา

 การกำหนดปัญหา หรือเข้าใจปัญหาเป็นขั้นตอนเริ่มต้นของการพัฒนาระบบ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำความเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และความต้องการของผู้ใช้ เพื่อหาแนวทางของระบบใหม่ที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติม



2.5 การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล

   การจัดเรียงข้อมูล เป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ครูตรวจข้อสอบของนักเรียน และบันทึกข้อมูลลงสมุดบันทึกคะแนนนักเรียน อ่านเพิ่มเติม




2.4 การทำซ้ำ

   ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำ ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำใช้สำหรับกรณีที่ต้องการทำกระบวนการต่าง ๆ ซ้ำกันหลายครั้ง โดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขสำหรับการตัดสินใจ เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนของการทำซ้ำ อ่านเพิ่มเติม



2.3 การออกแบบขั้นตอนวิธี

 ทักษะการคิดเชิงคำนวณ เช่น การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบ และการคิดเชิงนามธรรม สามารถนำมาใช้ในการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ อ่านเพิ่มเติม



2.2 การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

  การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั้น ก่อนที่จะระบุขั้นตอนวิธีที่ชัดเจนได้ จะต้องวิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่สามารถใช้ในการประมวลผลได้ แบ่งออกเป็นสองส่วน

1.ข้อมูลเข้า

2.ข้อมูลออก

อ่านเพิ่มเติม



2.1 การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

 ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

1. การนิยามปัญหา (Problem Definition) 2. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis) 3. การออกแบบอัลกอริธึม (Algorithm design) 4. การพัฒนาโปรแกรม (Program development) 5. การทดสอบความถูกต้อง (Program Testing) 6. การจัดทำเอกสาร (Documentation) 7. การบำรุงรักษา และการแก้ไข (Maintenance and modification)

อ่านเพิ่มเติม



วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2563

สรุป 13 ข้อ สาระสำคัญจำง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพ์ 60 มีผลบังคับใช้แล้ว

           ถ้ายังจำกันได้ถึงการผลักด้น พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบเมื่อเดือนธันวาคม เมื่อปีที่ผ่านมา (2559) และได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 มกราคม ล่าสุด มีผ อ่านเพิ่มเติม